Influencing Factors to the Resignation of Nurse: A Case Study of Vejthani Hospital

จิราภรณ์ กองจันทร์, ดร.กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ, ดร.ไกรชิต สุตะเมือง

Abstract


This quantitative research aims to study the relationship between the following factors that could affect the resignation of nurses (1) different types of personal factors, (2) internal factors including management system, professional advancement, compensation, training and system operation and (3) external factors including hospital environment and law at the time of the operation. The sample subjects of this case study are nurses from Vejthani Hospital Bangkok. The tools used to collect data for 135 queries was a questionnaire The data analysis and data processing was done using computer programs t-Test, F-Test (ONE-way ANOVA) and analysis of linear regression the ear multiply (Multiple Regression Analysis: MRA) test at level of significance. At 0.05
The subjects are mostly female single nurses and graduating students that belongs to the age group of 31-40 years old. The average personal income per month of 10,001 to 20,000 baht in the study are significant factors that affect the resignation of nurses in Vejthani Hospital case study in Bangkok found that compensation (sig0.000). operational (sig.000) training (sig.002) and the environment of the hospital (sig.000) associated with the resignation of nurses. Case Vejthani Hospital in Bangkok for analysis.
Researchers have suggested using the research data as a guide to the management of nursing professional and should be aware of various factors. Work as a Source of Problems caused his intention to resign in Vejthani Hospital and ways to improve the system so that nurses will be more satisfied in their work and try to eliminate the cause of their own to prevent the resignation.

Keywords


Resignation, nurses, Vejthani Hospital

Full Text:

PDF

References


Gordon, J. R. (1998). Organizational behavior: A diagnostic approach (6th ed.). New York: Prentice-Hall.

Werther, W. B., Jr., & Keith, D. (1993). Human resource and personal management (4th ed.) New York: McGraw

Miore et al. (2005) การลาออกของพยาบาลผลต่อการรักษาผู้ป่วยที่จำเป็นต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง รวมถึงสัมพันธ์ภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยลดลง

วิจิตร สรีสุวรรณ และคณะ (2545) องค์กรที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพเป็นหน่วยงานที่การบริการด้านสุขภาพอนามัย

Janssen, Jonge and Bakker,(1999)ในต่างประเทศการลาออกของพยาบาล

Rowlan and Rowlan,(1992)แนวโน้มให้ออกจากงานมากขึ้นไม่พอใจเกี่ยวกับค่าจ้าง พฤติกรรมของหัวหน้า โอกาสก้าวหน้า งานหนัก เป็นต้น

Mobley (1982) ความหมายของการลาออกว่า หมายถึง การที่พนักงานขององค์การสิ้นสภาพการเป็นสมาชิกขององค์การ

Mowday (1981) การที่พนักงานจะมีความตั้งใจที่จะคงอยู่ หรือลาออกจากองค์การ

จุฑารัตน์ แสงสุริยันต์,(2549) ความตั้งในในการลาออกไว้ว่าจะเป็นตัวเชื่อมพฤติกรรมการลาออกที่เกิดจากพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของความตั้งใจจะลาออกร่วมกับโอกาสทางเลือกของงานที่บุคคลมีความตั้งใจจะลาออก

รัชนิดา ตุงคสวัสดิ์, (2545)ความพึงพอใจในงาน (job satisfaction)

Milton, (1981) ทำให้บุคคลรู้สึกว่าอยากจะทำงาน ความพึงพอใจในงานจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ

อนันต์ รุ่งผ่องศรีกุล, (2541) ความหมายความพึงพอใจในการทำงานเป็นผลรวมทางจิตวิทยา สรีรวิทยา และสิ่งแวดล้อม

อนันต์ รุ่งผ่องศรีกุล, (2541) องค์ประกอบที่มีผลต่อความพึงพอใจในงานว่ามี 9 ประการ

วิทูรย์ สิมะ โชคดีและกฤษฏา ชัยกุล,(2537)การจัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ปริชาติ ตันติวัฒน์ (2538) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยความพึงพอใจ

ภราดี บุตรศักดิ์ศรี (2540) ได้ทำการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลความพึงพอใจในงานและแนวโน้มที่จะลาออกจากองค์กรของพนักงานในกลุ่มธุรกิจบริษัทเงินทุนในเขตกรุงเทพมหานคร

อนันต์ รุ่งผ่องศรีกุล (2541) ได้ทำการวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่อความสำเร็จในงานความพึงพอใจในงาน และแนวโน้มที่จะลาออกจากองค์การของผู้แทนขายยา โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้แทนขายยาในโรงพยาบาลขององค์การเอกชน

สุทธิณีย์ แก้วเจริญ, (2542) ได้ทำการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานกับการลาออกจากงาน กับงานวิจัย

สุทธิณีย์ แก้วเจริญ (2542) ได้ทำการวิจัย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลาออกจากงานของพนักงานโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน

สุทธินี กุศลศรี(2544)ศึกษาเรื่องสาเหตุทางการบริหารที่มีผลต่อการลาออกของพนักงานบริษัท ทีพีไอ โพลีนจำกัด(มหาชน)

วิยะดา เรืองฤทธิ์ (2545) ได้ทำการวิจัย ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อแนวโน้มการย้ายงานหรือลาออกของบุคลากรคอมพิวเตอร์

ลัดดา ฟิชเชอร์ (2546) ได้ทำการวิจัยเรื่อง สาเหตุการลาออกของพนักงานฝ่ายบัญชีกรณีศึกษาเฉพาะบริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์โฮเท็ล จำกัด (จังหวัดภูเก็ต)

ภานุมาส พูนศรัทธา (2549) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การศึกษาเรื่องทัศนคติของคนรุ่นใหม่ต่อปัจจัยที่มีผลกับความตั้งใจในการลาออกจากงานในกรุงเทพมหานคร

อมรรัตน์ สว่างอารมณ์ (2549) ได้ทำการวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมในการทำงาน และความพึงพอใจในงานกับความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานฝ่ายผลิต กรณีศึกษาโรงงานผลิตขนมปัง

มธุรส สว่างบำรุง (2536)ได้ศึกษาผลกระทบที่มีต่อความไม่แน่นอน การรับรู้และยุติธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน์ของการลาออกลูกจ้างที่ทำงานด้านสุขภาพจิต

Igbaria and Greenhaus (1992) ได้ศึกษาถึงตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานฝ่ายสารสนเทศ

Keller (1998) ได้ทำการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อการลาออกของพนักงานในอุตสาหกรรมขนส่ง เพื่อสำรวจทัศนคติและพฤติกรรมของพนักงาน รวมทั้งหาวิธีในการรักษาพนักงานให้อยู่กับองค์การต่อไป

Eric and Nancy (2001) ได้ทำการศึกษาผลกระทบของความพึงพอใจในงาน ต่อความตั้งใจลาออกจากงาน

Strauss and Sayles (1960) ความพึงพอใจในการทำงานเป็นความรู้สึกพอใจในงานที่ทำและเต็มใจที่จะปฏิบัติงานนั้นให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์การ ทรงธรรม ธีระกุลม (2548) การสื่อสาร : กลยุทธ์สู่ความสำเร็จขององค์กร. วารปาริชาตมหาวิทยาลัยทักษิณ. ความหมายของการสื่อสาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.krunuippk.ob.tc สืบค้น 1 มิถุนายน 2555.

วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2547). การจัดการและพฤติกรรมองค์กร. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไซน่า.

ชลทิพย์ อัศวกาญจน์. 2545. การส่งสารของผู้บังคับบัญชาเพื่อสร้างการยอมรับจากใต้บังคับบัญชาที่มีอาวุโสมากกว่าในองค์กรไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสนาะ ติเยาว์, 2541. การสื่อสารในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. 2537. เทคนิคการสื่อความหมายที่ทรงประสิทธิผล.กรุงเทพมหานคร :สหมิตรออฟเซท.

วิกรม อัศวิกุล, 2541) ความรู้สึกไม่มั่นคงในการทำงานมีความสัมพันธ์กับการลดระดับความผูกพัน ความไว้วางใจองค์การ

วุฒิชัย จำนง (2533) พฤติกรรมการตัดสินใจ.กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์